
นอนกรน, ภาวะหยุดหายใจขณะหลับ (OSA) : การฝังเข็มรักษา
การกรน เกิดจาก เวลาที่เรานอนหลับ กล้ามเนื้อต่างๆจะคลายตัว ทำให้หย่อนมาปิดทางเดินหายใจของเรามากกว่าปกติ
การกรน เกิดจาก เวลาที่เรานอนหลับ กล้ามเนื้อต่างๆจะคลายตัว ทำให้หย่อนมาปิดทางเดินหายใจของเรามากกว่าปกติ
การฝังเข็ม คือศาสตร์หนึ่งในแพทย์แผนจีน ซึ่งชาวจีนใช้กันมานานกว่า 4,000 ปี โดยมีหลักการคือ การใช้เข็มขนาดเล็กมาก ฝังตามจุดฝังเข็มบนร่างกาย ซึ่งเป็นจุดที่มีพลังงานมากกว่าจุดอื่นๆ
น้ำหนักเกิน หรือ โรคอ้วน สาเหตุหลักนอกจากพันธุกรรม พฤติกรรมการกินอาหารเกินจำเป็น หรือ ออกกำลังกายน้อยแล้ว ในศาสตร์จีนพบว่าเกิดจากระบบขับของเสียทำงานไม่ดี ทำให้มีของเสีย หรือ สารพิษสะสม ทำให้เกิดเป็นโรคอ้วนขึ้น
ในศาสตร์จีนเชื่อว่า โลกของเรามีทั้งหยิน (เย็น/มืด) หยาง (ร้อน/สว่าง)สมดุลกัน ร่างกายของเราก็เช่นกัน หากร่างกายอยู่ในภาวะสมดุลหยินหยาง ก็จะไม่เกิดโรคขึ้น ทุกคนคงเคยมีอาการ เช่น ป่วยไม่สบายบ่อย เป็นหวัดบ่อย เวียนศีรษะ มึน อ่อนเพลีย หายใจไม่อิ่ม หลงลืมง่าย
ประเภทของอาการนอนไม่หลับ ช่วงต้น คือ เข้านอนแล้วนอนไม่หลับ ใช้เวลาก่อนหลับนาน มักเกี่ยวข้องกับโรควิตกกังวล ช่วงกลาง คือ นอนหลับๆตื่นๆ นอนตื่นบ่อย มักเกี่ยวข้องกับ โรคเรื้อรังต่างๆ
อาการโรคภูมิแพ้ มีน้ำมูก คัดจมูก ช่วงอากาศเย็น เช่น ช่วงเช้า หรือ กลางคืน จามติดต่อกันหลายครั้ง มีเสมหะในคอบ่อยๆ ไอเรื้อรัง โดยไม่มีสาเหตุอื่น
อาการปวดท้องประจำเดือนที่ต้องตรวจรักษาอาการปวดเกินช่วง 1-3 วันก่อนหรือหลังเริ่มมีประจำเดือน อาการปวดที่เป็นมากขึ้นทุกเดือน
การฝังเข็มศาสตร์จีนช่วยบำรุงผิวพรรณใบหน้าอย่างไร กระตุ้นเลือดลมให้ไหลเวียนดีขึ้นบริเวณใบหน้า ซึ่งทำให้ใบหน้าสดใส ลดความหมองคล้ำ
ลักษณะอาการ เอ็นเข่าอักเสบปวดบริเวณเข่า มักเป็นด้านใดด้านหนึ่ง เช่นเข่าด้านใน หรือ ด้านหลังข้อเข่า เป็นหลังออกกำลังกาย วิ่ง เดินขึ้นลงบันได
ลักษณะอาการปวดหลัง ปวดคอ บ่า ไหล่ ออฟฟิศซินโดรม ปวดบริเวณกล้ามเนื้อหลัง คอ บ่า ไหล่ กล้ามเนื้อตึง
อาการกรดไหลย้อน โรคกระเพาะปวด จุกแน่น บริเวณท้องเหนือสะดือ หรือ ลิ้นปี่ อาการมักเป็นก่อน หรือ หลังมื้ออาหาร เรอเปรี้ยว เรอบ่อย ขมในคอ จุกแน่นบริเวณคอ รู้สึกมีอะไรมาจุกที่คอ อาจมีอาการคลื่นไส้อาเจียน อาจมีถ่ายเหลว ท้องเสียร่วมด้วย
อาการของโรคกระดูกทับเส้นประสาทส่วนเอว มักเป็นในผู้สูงอายุ ปวดบริเวณหลัง อาจมีปวดร้าวลงขาด้านหลัง หรือด้านข้างชา หรือ อ่อนแรงบริเวณขา ข้างใดข้างหนึ่งหรือ สองข้าง
ทางการแพทย์ยังไม่ทราบสาเหตุแน่ชัดแต่เชื่อว่าเกิดจากเส้นเลือดตอบสนองต่อสิ่งเร้ามากกว่าปกติทำให้มีการหดขยายของหลอดเลือดและเกิดอาการปวดขึ้น